ทนายคดีภาษีอากร โทร 0838843287
ภาษีที่จัดเก็บในประเทศไทย
1. ภาษีสรรพากร
2. ภาษีสรรพสามิต
3. ภาษีศลกากร
4. ภาษีส่วนท้องถิ่น
ใครผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา?
1. บุคคลธรรมดา
2. ผู้ถึงแก่ความตายในระหวางปีภาษี
3. กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง (ฎ.171/2521)
4. ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล
ใครผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ?
1. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
2. ห้างหุ้นส่วนจำกัด
3. บริษัทจำกัดตาม ป.พ.พ.
4. บริษัทมหาชน ตาม พรบ.บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2535
อัตราภาษี (Tax Rate) เงินได้สุทธิ ช่วงเงินได้ สุทธิ อัตรา ภาษี ภาษีในแต่ละ ขั้น
ภาษีสะสม 0-150,000 อัตราภาษี 0
ส่วนที่เกิน 150,000-500,000 อัตราภาษี 10
ส่วนที่เกิน 500,000-1,000,000 อัตราภาษี 20
ส่วนที่เกิน 1,000,000-4,000,000 อัตราภาษี 30
ส่วนที่เกิน 4,000,000 ขึนไป อัตราภาษี 37
การปรึกษาทนายความและการจ้างทนายความเพื่อแก้ปัญหาภาษี
1 ปรึกษาการเสียภาษีอากรตามกฎหมาย
2 ปรึกษาทนายภาษีเพื่ออุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับ แจ้งการประเมิน
3. จ้างทนายคดีภาษีอุทธรณ์ต่อศาลภาษีอากร(ทำเป็นคำฟ้อง) ภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคำ วินิจฉยอุทธรณ์
4. ปรึกษาทนาย หรรือจ้าง อุทธรณ์ต่อศาลฎีกาแผนกคดีภาษีอากรภายใน 1 เดือน นับแต่วันอ่านคํา พิพากษาศาลภาษีอากร
โทษตามกฎหมายภาษีอากร
1. โทษทางแพ่ง- เบียปรับ- เงินเพิม (ด/บ)
2. โทษทางอาญา (ม.35-37ทวิ)- โทษปรับ- โทษจำคุกและปรับ
ตัวอย่างปัญหาคดีภาษีอากร
บริษัท เอ จำกด เป็นบริษัทจดทะเบียนในประเทศสวีเดนได้ ประกอบกิจการในประเทศไทย แต่ได้ทำการเป็นนายหน้าในประเทศ สวีเดนติดต่อขายสินค้าของบริษทเกรียงไกร ใหแกผู้ซื้อในประเทศ สวีเดนและจะไดรับเงินค่านายหน้าจากบริษัทเกรียงไกร จำกด ในประเทศ ไทยในปี 2552 เป็นเงินห้าล้านบาท แต่เนื่องจากประเทศสวีเดนเป็นประเทศ ทีมีอนุสัญญาว่าด้วยการยกเว้นการเก็บภาษีซ้อนกับประเทศไทย ใหวินิจฉัยว่า บริษัทเกรียงไกร จำกด มีหน้าที่หักภาษีเงินได้นิติ บุคคล ณ ทีจาย และนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
1 กรณีภาษีนิติบุคคล เงินค่านายหน้าที่จ่ายให้บริษัทเอ จำกด จานวนห้าล้านบาท ถือเป็นเงินได้ พึงประเมินตามมาตรา 40 (2) แหงประมวลรัษฎากร บริษัทเอ จำกด ต้องเสียภาษี เงินได้นิติบุคคลหัก ณ ทีจาย ตามนยมาตรา 70 แหงประมวลรัษฎากร แต่ เนื่องจากประเทศสวีเดนเป็นประเทศที่ได้ทำอนุสัญญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษี ซ้อนกับประเทศไทย และขอเท็จจริงไมปรากฏว่าบริษัทเอ จำกัด มีสถาน ประกอบการภายในประเทศไทย ซึงอนุสัญญากำหนดใหเงินได้ตามมาตรา 40 (2) ไดรับยกเว้นไมต้องเสียภาษีให้แก่รัฐบาลไทย กรณีดังกล่าวหักภาษีไม่ได้
2 ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามที่บริษัทเกรียงไกร จำกัด ผู้จ่ายเงินจำนวนห้าล้านบาทให้ บริษัทเอ จำกัด ดังกล่าว เกิดจากการให้บริการเพื่อให้เกิดการซื้อขายสินคา ในประเทศสวีเดน ถือเป็นการให้บริการนั้นนอกราชอาณาจักร จึงไมอยู่ใน บังคับที่ บริษัทเอ จะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 77/2 และ มาตรา 78/1 (3) ดังนั้น ไม่ต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม
ปรึกษาทนาย คดีภาษี ปัญหาด้านภาษีอากร โทร 0838843287